ห้องสมุดอาเซียนโรงเรียนบ้านคลองสงค์



ห้องสมุดอาเซียนโรงเรียนบ้านคลองสงค์
- สถิติการใช้ห้องสมุดอาเซียน พฤษภาคม 2565 - มิถุนายน 2566
เดือน |
จำนวนวันทำการ |
จำนวนผู้เข้าใช้บริการ |
เฉลี่ยจำนวนนักเรียนที่เข้าใช้ต่อเดือนคิดเป็นร้อยละ |
พฤษภาคม 2565 |
11 |
635 |
57.72 |
มิถุนายน 2565 |
21 |
1,611 |
76.71 |
กรกฎาคม 2565 |
15 |
967 |
64.46 |
สิงหาคม 2565 |
22 |
1,763 |
80.13 |
กันยายน 2565 |
22 |
1,826 |
83 |
ตุลาคม 2565 |
ปิดภาคเรียน |
||
พฤศจิกายน 2565 |
22 |
1,815 |
82.5 |
ธันวาคม 2565 |
19 |
1,751 |
92.15 |
มกราคม 2566 |
21 |
2,012 |
95.80 |
กุมภาพันธ์ 2566 |
20 |
1,722 |
86.1 |
มีนาคม 2566 |
22 |
1,852 |
84.18 |
เมษายน 2566 |
ปิดภาคเรียน |
||
พฤษภาคม 2566 |
12 |
766 |
63.83 |
มิถุนายน 2566 |
21 |
1,958 |
93.23 |
จำนวนนักเรียนทั้งโรงเรียน 673 คน
6.1 เป็นการนำให้นักเรียนรู้จักการใช้ห้องสมุดในโรงเรียนเบื้องต้น ก่อนจะก้าวไปสู่การใช้ห้องสมุดที่ทันสมัยอื่น ๆ 6.2 โรงเรียนเป็นจุดศูนย์กลางของแหล่งเรียนรู้ทำให้ ประชาชนในหมู่บ้าน นักเรียน ครู มีความสัมพันธ์กันมากขึ้น มีปฏิสัมพันธ์จากกิจกรรมต่าง ๆ ได้พูดคุย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทัศนะคติต่าง ๆทำให้เกิดความเข้าใจอันดีต่อกัน 6.3 ห้องสมุดอาเซียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ยั่งยืน ทันสมัยที่ประชาชนเข้าถึงได้ง่าย เพื่อเกิดการเรียนรู้ที่เข้าถึงประชาชนที่ด้อยโอกาสเข้าถึงข่าวสาร ข้อมูลความรู้ ต่าง ๆ 6.4 ทำให้ประชาชนในหมู่บ้านเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง รู้จักที่จะปรับตัวในการรับวัฒนธรรมของประเทศเพื่อนบ้านที่จะเข้ามามีอิทธิพล ในวิถีชีวิตชุมชน 6.5 ประชาชนเห็นคุณค่าของชุมชนตนเอง และภูมิใจในคุณค่าของภูมิปัญญาท้องถิ่นตนเอง ค้นหาจุดแข็งจุดอ่อนของชุมชนตนเอง เมื่อได้เปรียบเทียบกับประเทศอาเซียน และมีโลกทัศน์ วิสัยทัศน์ในด้าน ต่าง ๆ กว้างมากขึ้น และเป็นคลังแห่งการฝึกหัดและการเรียนรู้ สำหรับคนที่ด้อยโอกาสทางการศึกษา
- อยากให้มีกิจกรรมห้องสมุดอาเซียน จากกรมอาเซียนเหมือนที่เคยได้จัดมา ให้นักเรียนได้มีโอกาสไปเยือนกระทรวงต่างประเทศหรือพบปะกับเครือข่ายห้องสมุดอาเซียนในที่ต่าง ๆ - ควรทำเป็นห้องเก็บเสียง เพราะเวลาอ่านหนังสือ มีเสียงรบกวนมากเกินไป - ห้องสมุดควรติดแอร์ เพราะจะทำให้ส่งเสริมการอ่านมากยิ่งขึ้น
|